โครงการ อาหารกลางวันเพื่อนักเรียน
กลยุทธ์โรงเรียนที่ 1 สร้างความเสมอภาคละเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สอดคล้องกับกลยุทธ์ สพท.ที่ 2 ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชากรวัยเรียนอย่าง
กว้างขวางและทั่วถึง
แผนงาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฝ่ายงาน งานบริหารทั่วไป
กลุ่มงาน กิจการนักเรียน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหนองตอ - บัวเสียว
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพิมพา บุญย็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 มีนาคม 2553
กลยุทธ์โรงเรียนที่ 1 สร้างความเสมอภาคละเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สอดคล้องกับกลยุทธ์ สพท.ที่ 2 ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชากรวัยเรียนอย่าง
กว้างขวางและทั่วถึง
แผนงาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฝ่ายงาน งานบริหารทั่วไป
กลุ่มงาน กิจการนักเรียน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหนองตอ - บัวเสียว
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพิมพา บุญย็น
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 มีนาคม 2553
นักเรียนมีความสุขกับการรับประทานอาหารอร่อย
1. หลักการและเหตุผล
การปฏิรูปการศึกษาเป็นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาระบบการจัดการการเรียนการสอน สิ่งสำคัญโรงเรียนต้องมีการพัฒนาผู้เรียนให้มีการพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และมีการพัฒนาการด้านสติปัญญา การพัฒนาการทั้งสี่ด้านนี้ ทางโรงเรียนควรส่งเสริมและมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันกับด้านอื่นๆ
การจัดกิจกรรมในโครง อาหารกลางวันเพื่อนักเรียน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอาหารกลางวันเพื่อนักเรียนในโรงเรียน ได้เนินการให้บริการอาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียนได้รับประทานเวลามื้อกลางวันฟรีทุกคนที่โรงเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆของนักเรียน สร้างความพร้อมให้แก่นักเรียนใน การปฏิบัติงานทุกกระบวนการเรียนรู้ ลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำ
การปฏิรูปการศึกษาเป็นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาระบบการจัดการการเรียนการสอน สิ่งสำคัญโรงเรียนต้องมีการพัฒนาผู้เรียนให้มีการพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และมีการพัฒนาการด้านสติปัญญา การพัฒนาการทั้งสี่ด้านนี้ ทางโรงเรียนควรส่งเสริมและมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันกับด้านอื่นๆ
การจัดกิจกรรมในโครง อาหารกลางวันเพื่อนักเรียน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอาหารกลางวันเพื่อนักเรียนในโรงเรียน ได้เนินการให้บริการอาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียนได้รับประทานเวลามื้อกลางวันฟรีทุกคนที่โรงเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆของนักเรียน สร้างความพร้อมให้แก่นักเรียนใน การปฏิบัติงานทุกกระบวนการเรียนรู้ ลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำ
2. วัตถุประสงค์
2.1 ผลผลิต
ด้านปริมาณ นักเรียนมีอาหารกลางวันรับประทานทุกวันทุกคนครบร้อยละ 100 โดยแยกจำนวนนักเรียนเป็นช่วงชั้นดังนี้ คือ ชั้นอนุบาล ช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่ 2
ด้านคุณภาพ มีอาหารกลางวันที่สะอาด มีประโยชน์ถูกหลักโภชนาการ และมีผลการเรียนดีขึ้น
2.2 ผลลัพธ์ นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นและดลจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทุกๆ ด้าน
2.1 ผลผลิต
ด้านปริมาณ นักเรียนมีอาหารกลางวันรับประทานทุกวันทุกคนครบร้อยละ 100 โดยแยกจำนวนนักเรียนเป็นช่วงชั้นดังนี้ คือ ชั้นอนุบาล ช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่ 2
ด้านคุณภาพ มีอาหารกลางวันที่สะอาด มีประโยชน์ถูกหลักโภชนาการ และมีผลการเรียนดีขึ้น
2.2 ผลลัพธ์ นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีขึ้นและดลจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทุกๆ ด้าน
แผนปฏิบัติงานโครงการอาหารกลางวันเพื่อสุขภาพ
วัน เดือน ปี | การดำเนินงาน | ผู้รับผิดชอบ |
ตุลาคม2552 | เขียนโครงการ | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
ตุลาคม 2552 | เสนอโครงการ | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
พฤศจิกายน 2552 | สำรวจความคิดเห็นและความต้องการของนักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
พฤศจิกายน 2552 | เตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
พฤศจิกายน 2552- กันยายน 2553 | ดำเนินงานตามโครงการ | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
กันยายน 2553 | ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
กันยายน 2553 | รายงานผล | นางพิมพา บุญย็น และคณะ |
3. กิจกรรมและการดำเนินงาน
กิจกรรม | งบประมาณ | ระยะเวลา |
1. ประชุมครูและนักเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ 3. สำรวจความคิดเห็น 4. เตรียมอุปกรณ์ 5. ดำเนินงานตามโครงการ 6. การให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร 7. การให้ความรู้เกี่ยวกับเลือกรับประทาน อาหารที่เป็นประโยชน์ 8. จัดกิจกรรมสำรวจเครื่องอุปกรณ์บริโภค ในร้านค้า 9. สำรวจความคิดเห็นและประเมินผล | 1,000 .- - 500 .- 10,000 .- 13,300,000 .- 1,000 .- 500 .- 10,000 .- 300 .- | พ.ย. 2552 ,,-----,, ,, ,, ,, ,,พ.ย. 2552 มีนาคม 2553 |
4. การประเมิน
ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ | วิธีการประเมิน | เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล |
นักเรียนมีภาวะทางโภชนาการ ทางร่างกาย ทางสติปัญญา ทางอารมณ์และทางสังคมสมบูรณ์ดีขึ้น | - บันทึกสถิติการรับประทาน อาหารกลางวันของนักเรียน - บันทึกการวัดส่วนสูงและการชั่ง น้ำหนัก - ทดสอบความสามารถด้านการ เรียนรู้ | - แบบบันทึกการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน - แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก วัดส่วน - แบบทดสอบ - แบบประเมินผล |
อาหารสะอาด...อร่อย